หลักสูตรแพทยศาสตร์บัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554)
- Details
- Published: Saturday, 09 November 2019 14:54
หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปัจจุบันที่ใช้เป็นหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔ กำหนดผลการเรียนรู้ (learning outcomes) จำนวน 6 ด้าน ได้แก่
- คุณธรรม จริยธรรม
- การรักษาเกียรติและธำรงคุณค่าแห่งวิชาชีพ
- มีบุคลิกภาพอันเป็นที่น่าศรัทธา
- ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อการนัดหมาย
- มีคุณธรรม และจริยธรรมที่เหมาะสมต่อวิชาชีพแพทย์
- ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและวิชาชีพ เป็นที่ไว้วางใจของผู้ป่วยและสังคม
- รับผิดชอบต่อผู้ป่วยและงานที่ได้รับมอบหมาย
- การคำนึงถึงผู้ป่วย
- คำนึงถึงประโยชน์และความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นสำคัญ
- ให้ความจริงแก่ผู้ป่วย รักษาความลับ และเคารพในสิทธิของผู้ป่วย
- ปกป้องและพิทักษ์สิทธิประโยชน์ของผู้ป่วย
- การคุ้มครองและรับผิดชอบต่อสังคม
- แสดงเจตคติที่ดีต่อการให้บริการสุขภาพแบบองค์รวมแก่ประชาชนทุกระดับ
- เข้าใจความต้องการและข้อจำกัด โดยไม่แบ่งแยกในบริบทของเชื้อชาติ ศาสนา อายุ และเพศ
- มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาให้บริการที่มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
- การรักษาเกียรติและธำรงคุณค่าแห่งวิชาชีพ
- ความรู้ มีความรู้ความเข้าใจในด้าน
- มีความรู้ความเข้าใจในวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน และวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก
- มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์อื่น ๆ
- ทักษะทางปัญญา
- การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
กำหนดความต้องการในการเรียนรู้ของตนเอง วางแผนและแสวงหาวิธีการสร้างและพัฒนาความรู้ และตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพงาน - การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการใช้เหตุผลทางคลินิก
มีวิจารณญาณในการประเมินข้อมูลด้วยหลักการของวิทยาการระบาดคลินิกและเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ และประยุกต์ความรู้ เทคโนโลยี และทักษะใหม่ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
- การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
- ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
- ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ดำรงตนเป็นแบบอย่างและเป็นพลเมืองดีของสังคม
- มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
- ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์และสถิติ
- สื่อสารกับผู้ป่วย และผู้เกี่ยวข้องทั้งการฟัง การพูด และการเขียน
- ถ่ายทอดความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
- ค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ทักษะทางคลินิก
- ตั้งสมมติฐาน และวินิจฉัยโรคจากการถามประวัติ และการตรวจร่างกาย
- เลือกใช้วิธีการตรวจโดยใช้เครื่องมือพื้นฐาน เครื่องมือพิเศษ และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
- ทำหัตถการและใช้เครื่องมือในการตรวจวินิจฉัยและบริบาลผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม
- บริบาลผู้ป่วยแบบองค์รวม
- บริบาลผู้ป่วยแบบสหสาขาวิชาชีพรวมทั้งปรึกษาผู้ที่มีความรู้ความชำนาญกว่าได้อย่างเหมาะสม
เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้ว บัณฑิตแพทย์พึงสามารถปฏิบัติหน้าที่อย่างน้อย 5 ด้านตามแบบ The Five-star Doctor ขององค์การอนามัยโลกได้ ประกอบด้วย
- บัณฑิตแพทย์เป็นผู้บริบาล
เป็นผู้ให้บริการด้านสาธารณสุขที่ตระหนักถึงความต้องการของผู้ป่วยรอบด้านทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม ประพฤติตามคุณธรรมจริยธรรมแห่งวิชาชีพ โดยคำนึงถึงมิติด้านสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาและฟื้นฟูสภาพในลักษณะบูรณาการและต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดคุณภาพ - บัณฑิตแพทย์เป็นผู้มีทักษะในการตัดสินใจ
สามารถประเมินและตัดสินโดยคำนึงถึงประสิทธิผลและต้นทุนที่จะเกิดขึ้นในการดูแลรักษาภายใต้ทรัพยากรที่มีจำกัด - บัณฑิตแพทย์เป็นผู้มีทักษะในการสื่อสาร
มีทักษะในการโน้มน้าว ชักชวนให้บุคคล ครอบครัว และชุมชนตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการดำรงชีวิตทั้งด้านอาหาร การพักผ่อน การลดปัจจัยเสี่ยงและการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม - บัณฑิตแพทย์เป็นผู้นำชุมชน
สามารถค้นหาปัญหาและความต้องการของชุมชน รู้ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลด้านกายภาพและสภาพสังคมของชุมชน มีส่วนร่วมในการปรับปรุงสุขภาพชุมชน - บัณฑิตแพทย์เป็นผู้จัดการ
มีทักษะในการประสานงาน แลกเปลี่ยนข้อมูล สามารถทำงานเป็นทีมแบบสหสาขาวิชาชีพร่วมกับบุคลากรด้านสาธารณสุขและด้านอื่น สามารถบูรณาการกระบวนการดูแลสุขภาพเข้ากับกระบวนการทางสังคมเพื่อให้เกิดการพัฒนาด้านสุขภาพและด้านสังคม
--------------------------------------------------------------------------------------------------------
รายละเอียดหลักสูตรโดยย่อ
- รหัสและชื่อหลักสูตร
แพทยศาสตรบัณฑิต Doctor of Medicine Programme - ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) Doctor of Medicine (M.D.) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียน
ตลอดหลักสูตร 257 หน่วยกิต - สถานที่จัดการเรียนการสอน
- ชั้นปีที่ 1 ศึกษาที่มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา จ.นครปฐม
- ชั้นปีที่ 2 ศึกษาที่คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตพญาไท
- ชั้นปีที่ 3 – 6 ศึกษาที่คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
- ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
- ปรัชญาของหลักสูตร
ผลิตบัณฑิตแพทย์ที่มีคุณภาพคู่คุณธรรม โดยเน้นด้านเวชศาสตร์เขตเมือง มีสำนึกต่อสังคม - วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
เมื่อนักศึกษาจบเป็นบัณฑิตแล้วสามารถ- บริบาลผู้ป่วยที่มีคุณภาพตามมาตรฐานแบบองค์รวมทั้งในมิติ
- ร่างกาย จิตใจ สังคม และปัญญา (จิตวิญญาณ)
- ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษา และฟื้นฟูสภาพ
- ระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน
- แสดงพฤตินิสัย เจตคติ คุณธรรม จริยธรรมแห่งวิชาชีพ
- แสดงความรู้ความสามารถด้านเวชศาสตร์เขตเมือง
- ประพฤติตนเป็นแบบอย่างและเป็นพลเมืองดีของสังคม
- แสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง
- บริบาลผู้ป่วยที่มีคุณภาพตามมาตรฐานแบบองค์รวมทั้งในมิติ
- ปรัชญาของหลักสูตร
- ระบบการจัดการศึกษา
- ระบบ
แบ่งเป็น 2 ระบบ ได้แก่- ระบบการศึกษาแบบทวิภาค ในชั้นปีที่ 1 – 3 (ระดับเตรียมแพทย์และปรีคลินิก) แต่ละภาคการศึกษา ใช้เวลาศึกษาประมาณ 15 – 16 สัปดาห์ ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา
- ระบบการศึกษาแบบหมุนเวียน ในชั้นปีที่ 4 – 6 (ระดับคลินิก)
- การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน
- มีการจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน ในการเรียนชั้นปีที่ 1 – 3
- การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค
- ไม่มี
- ไม่มี
- ระบบ
- คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
- สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
- เป็นผู้มีคุณสมบัติตามข้อกำหนดของกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยในกรณีสอบรับตรงผ่านกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย
- เป็นผู้มีคุณสมบัติตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ในกรณีสอบระบบรับตรงโควต้าของมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
- แผนการรับนักศึกษา
รับปีละ 80 คน - หลักสูตร
- จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 257 หน่วยกิต
- โครงสร้างหลักสูตร จัดการศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 ปรากฏ ดังนี้
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต* กลุ่มวิชาที่มหาวิทยาลัยมหิดลกำหนด 16 หน่วยกิต
- รายวิชาในกลุ่มวิชามนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ในชั้นปีที่๑ 7 หน่วยกิต
- รายวิชาในกลุ่มวิชาภาษาในชั้นปีที่๑ 9 หน่วยกิต+ วิชาภาษาอังกฤษ 6 หน่วยกิต
+ วิชาภาษาไทย 3 หน่วยกิต* กลุ่มวิชาเลือกที่หลักสูตรกำหนดไม่น้อยกว่า 14 หน่วยกิต
- รายวิชาในกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ 8 หน่วยกิต
(ส่วนที่จัดเป็นวิชาศึกษาทั่วไป)
- รายวิชาในกลุ่มวิชามนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ในชั้นปีที่๒ 2 หน่วยกิต
- รายวิชาในกลุ่มวิชามนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ในชั้นปีที่๓ 2 หน่วยกิต
- รายวิชา เวชจริยศาสตร์ในชั้นปีที่๔ 2 หน่วยกิตข. หมวดวิชาเฉพาะ 213 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ 18 หน่วยกิต
(ส่วนที่จัดเป็นพื้นฐานวิชาชีพ)
- กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน+รายวิชาพื้นฐานปรีคลินิก 44 หน่วยกิต
+รายวิชาพื้นฐานคลินิก 16 หน่วยกิต
+รายวิชาชีพ (บังคับทางคลินิก) 135 หน่วยกิตค. หมวดวิชาเลือกเสรี 14 หน่วยกิต
- เลือกเสรี 6 หน่วยกิต
- เลือกทางคลินิก 8 หน่วยกิต - แผนการศึกษา
ปีที่ ๑ ภาคการศึกษาที่ ๑ | |||
รหัสรายวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า) | |
วทคม SCCH |
๑๑๑ 111 |
เคมีทั่วไป General Chemistry |
๓(๓–๐–๖) |
วทคม SCCH |
๑๑๙ 119 |
ปฏิบัติการเคมี Chemistry Laboratory |
๑(๐–๓–๑) |
วทฟส SCPY |
๑๕๓ 153 |
ฟิสิกส์พื้นฐานสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ Basic Physics for Medical Science |
๒(๒–๐–๔) |
วทฟส SCPY |
๑๑๐ 110 |
ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป General Physics Laboratory |
๑(๐–๒–๑) |
วทคณ SCMA |
๑๖๔ 164 |
แคลคูลัสสั้นและระบบสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ Calculus and Systems of Ordinary Differential Equations |
๓(๓–๐–๖) |
วทชว SCBI |
๑๑๓ 113 |
ชีววิทยาสาระสำคัญ Essential Biology |
๒(๒–๐–๔) |
วทชว SCBI |
๑๐๒ 102 |
ปฏิบัติการหลักชีววิทยา ๑ Biology Laboratory I |
๑(๐–๓–๑) |
ศศภอ LAEN |
๑๐๓ – ๑๐๖ 103 - 106 |
ภาษาอังกฤษระดับ ๑ – ๔ English Level 1 – 4 |
๓(๒–๒–๕) |
มมศท MUGE |
๑๐๑* 101 |
การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ General Education for Human Development |
๒(๑–๒–๓) |
มมศท MUGE |
๑๐๒* 102 |
สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ Social Studies for Human Development |
๓(๒–๒–๕) |
มมศท MUGE |
๑๐๓* 103 |
ศิลปวิทยาการเพื่อการพัฒนามนุษย์ Arts and Science for Human Development |
0 |
ศศภท LATH |
๑๐๐* 100 |
ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร Arts of Using Thai Language in Communication |
0 |
กววม BMUM |
๑๐๑ 101 |
วิชาเลือกเสรี (บทนำทางเวชศาสตร์เขตเมือง) Student-selected modules (Introduction to Urban Medicine) |
๑(๑-๒-๓) |
รวมหน่วยกิต | ๒๒ | ||
ปีที่ ๑ ภาคการศึกษาที่ ๒ | |||
รหัสรายวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า) | |
วทคม SCCH |
๑๒๒ 122 |
เคมีอินทรีย์ Organic Chemistry |
๓(๓-๐-๖) |
วทคม SCCH |
๑๑๙* 119 |
ปฏิบัติการเคมี Chemistry Laboratory |
๑(๐–๓–๑) |
วทฟส SCPY |
๑๕๔ 154 |
ฟิสิกส์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ Physics for Medical Science |
๓(๓-๐-๖) |
วทคณ SCMA |
๑๘๑ 181 |
สถิติศาสตร์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ Statistics for Medical Science |
๒(๒-๐-๔) |
วทคร SCID |
๑๔๑ 141 |
กระบวนการชีวิต : จากโมเลกุลสู่เซลล์ Living Processes : From Molecules to Cells |
๓(๓-๐-๖) |
วทคร SCID |
๑๔๒ 142 |
ปฏิบัติการกระบวนการชีวิต Laboratory in Living Process |
๑(๐-๓-๐) |
วทคร SCID |
๑๑๑ 111 |
เทคนิคการเรียนรู้ Learning Techniques |
๑(๑-๐-๒) |
ศศภอ LAEN |
๑๐๔ – ๑๐๖ 104 – 106 |
ภาษาอังกฤษระดับ ๒ – ๔ English Level 2 - 4 |
๓(๒-๒-๕) |
มมศท MUGE |
๑๐๑* 101 |
การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ General Education for Human Development |
๒(๑–๒–๓) |
มมศท MUGE |
๑๐๒* 102 |
สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ Social Studies for Human Development |
๓(๒–๒–๕) |
มมศท MUGE |
๑๐๓* 103 |
ศิลปวิทยาการเพื่อการพัฒนามนุษย์ Arts and Sciences for Human Development |
๒(๑-๒-๓) |
ศศภท LATH |
๑๐๐* 100 |
ศิลปการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร Art of Using Thai Language in Communication |
๓(๒-๒-๕) |
วิชาเลือกเสรี Student-selected modules |
๑ | ||
รวมหน่วยกิต | ๒๒ | ||
รวม ๒ ภาคการศึกษา | ๔๔ |
* รายวิชาที่เรียนตลอดปีการศึกษา แต่ลงทะเบียนภาคใดภาคหนึ่ง
ปีที่ ๒ ภาคการศึกษาที่ ๑ | |||
รหัสรายวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า) | |
วทคร SCID |
๒๔๑ 241 |
โครงสร้างและการพัฒนาของร่างกายมนุษย์ ๑ Structure and Development of Human Body I |
๒(๑-๒-๓) |
วทคร SCID |
๒๔๒ 242 |
โครงสร้างและการพัฒนาของร่างกายมนุษย์ ๒ Structure and Development of Human Body II |
๓(๑-๔-๔) |
วทคร SCID |
๒๔๓ 243 |
โครงสร้างและการพัฒนาของร่างกายมนุษย์ ๓ Structure and Development of Human Body III |
๒(๑-๒-๓) |
วทคร SCID |
๒๔๖ 246 |
เวชศาสตร์ระดับเซลล์และโมเลกุลขั้นพื้นฐาน Basic Cell and Molecular Medicine |
๓(๒-๒-๕) |
วทคร SCID |
๒๕๑ 251 |
ประสาทวิทยาศาสตร์การแพทย์ ๑ Medical Neuroscience 1 |
๔(๒-๔-๖) |
วทคร SCID |
๒๕๒ 252 |
ประสาทวิทยาศาสตร์การแพทย์ ๒ Medical Neuroscience II |
๒(๒-๐-๔) |
วิชาศึกษาทั่วไป (สังคมศาสตร์-มนุษยศาสตร์) General Education (Social Sciences and Humanities) |
๒ | ||
รวมหน่วยกิต | ๑๘ | ||
ปีที่ ๒ ภาคการศึกษาที่ ๒ | |||
รหัสรายวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า) | |
วทคร SCID |
๒๔๔ 244 |
โครงสร้างและพัฒนาการของร่างกายมนุษย์ ๔ Structure and Development of Human Body IV |
๓(๑-๔-๔) |
วทคร SCID |
๒๔๕ 245 |
โครงสร้างและพัฒนาการของร่างกายมนุษย์ ๕ Structure and Development of Human Body V |
๒(๑-๒-๓) |
วทคร SCID |
๒๔๗ 247 |
หลักการใช้ยารักษาโรค Principles of Pharmacotherapeutics |
๔(๓-๒-๗) |
วทคร SCID |
๒๖๑ 261 |
ระบบการทำงานของร่างกายมนุษย์ ๑ Functional Systems of Human Body 1 |
๓(๒-๒-๕) |
วทคร SCID |
๒๖๒ 262 |
ระบบการทำงานของร่างกายมนุษย์ ๒ Functional Systems of Human Body 2 |
๔(๓-๒-๗) |
กววป BMPV |
๒๐๑ 201 |
เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม Preventive and Social Medicine |
๑(๑-๐-๒) |
กววป BMPV |
๒๘๑ 281 |
เวชศาสตร์ป้องกันและสังคมภาคปฏิบัติ Fieldwork in Preventive and Social Medicine |
๑(๐-๓-๑) |
รวมหน่วยกิต | ๑๘ | ||
รวม ๒ ภาคการศึกษา | ๓๖ |
ปีที่ ๓ ภาคการศึกษาที่ ๑ | |||
รหัสรายวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า) | |
กววป BMPV |
๓๒๑ 321 |
เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน ๑* Family and Community Medicine I |
๓(๒-๓-๕) |
กวคร BMID |
๓๐๒ 302 |
เวชพันธุศาสตร์ Genetics in Medicine |
๒(๒-๐-๔) |
Xxxx xxxx |
Xxx xxx |
วิทยาภูมิคุ้มกันพื้นฐาน Basic Immunology |
๒(๒-๐-๔) |
Xxxx xxxx |
Xxx xxx |
วิทยาภูมิคุ้มกันคลินิกและโรคติดเชื้อไวรัส Clinical Immunology and Viral Diseases |
๒(๒-๐-๔) |
กวคร BMID |
๓๒๘ 328 |
จุลชีววิทยาทางการแพทย์ ๑ Medical Microbiology I |
๔(๓-๒-๗) |
Xxxx xxxx |
Xxx xxx |
ปรสิตวิทยาทางการแพทย์ Medical Parasitology |
๒(๑-๒-๓) |
วิชาศึกษาทั่วไป (สังคมศาสตร์-มนุษยศาสตร์) General Education (Social Sciences and Humanities) |
๒ | ||
รวมหน่วยกิต | ๑๗ | ||
ปีที่ ๓ ภาคการศึกษาที่ ๒ | |||
รหัสรายวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า) | |
กวพก BMAP |
๓๒๑ 321 |
พยาธิวิทยากายวิภาคตามระบบ Systematic Anatomical Pathology |
๕(๓-๖-๘) |
กวพค BMCP |
๓๒๒ 322 |
พยาธิวิทยาคลินิก Clinical Pathology |
๓(๒-๓-๕) |
กววป BMPV |
๓๒๑ 321 |
เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน ๑* Family and Community Medicine I |
0 |
กวอย BMID |
๓๐๑ 301 |
เวชศาสตร์ขั้นแนะนำ Introduction to Medicine |
๒(๒-๐-๔) |
กวอย BMID |
๓๑๒ 312 |
ประสบการณ์คลินิกทางเวชศาสตร์ Clinical Experience in Medicine |
๑(๐-๓-๑) |
วิชาเลือกเสรี Student-selected modules |
๔ | ||
รวมหน่วยกิต | ๑๕ | ||
รวม ๒ ภาคการศึกษา | ๓๒ |
ปีที่ ๔* | |||
รหัสรายวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า) | |
กวจว BMPC |
๔๐๑ 401 |
จิตเวชศาสตร์ Psychiatry |
๒(๒-๐-๔) |
กวจว BMPC |
๔๑๒ 412 |
ประสบการณ์คลินิกทางจิตเวชศาสตร์ ๑ Clinical Experience in Psychiatry I |
๒(๐-๖-๒) |
กวรส BMRD |
๔๐๒ 402 |
รังสีวิทยา ๒ Radiology 2 |
๔(๔-๐-๘) |
กวศศ BMSU |
๔๐๑ 401 |
ศัลยศาสตร์ ๑ Surgery I |
๖(๖-๐-๑๒) |
กวศศ BMSU |
๔๑๒ 412 |
ประสบการณ์คลินิกทางศัลยศาสตร์ ๑ Clinical Experience in Surgery I |
๖(๐-๑๘-๖) |
กวสต BMOG |
๔๐๑ 401 |
สูติศาสตร์นรีเวชวิทยา ๑ Obstetrics and Gynecology I |
๖(๖-๐-๑๒) |
กวสต BMOG |
๔๑๒ 412 |
ประสบการณ์คลินิกทางสูติศาสตร์นรีเวชวิทยา ๑ Clinical Experience in Obstetrics and Gynecology I |
๖(๐-๑๘-๖) |
กววป BMPV |
๔๐๑ 401 |
อาชีวเวชศาสตร์ Occupational Medicine |
๒(๒-๐-๔) |
กววป BMPV |
๔๘๑ 481 |
อาชีวเวชศาสตร์ภาคสนาม Occupational Medicine Fieldwork |
๒(๐-๖-๒) |
กวอย BMMD |
๔๐๑ 401 |
อายุรศาสตร์ ๑ Medicine I |
๖(๖-๐-๑๒) |
กวอย BMMD |
๔๑๒ 412 |
ประสบการณ์คลินิกทางอายุรศาสตร์ ๑ Clinical Experience in Medicine I |
๖(๐-๑๘-๖) |
กวคร BMID |
๔๒๑ |
เวชจริยศาสตร์** Medical Ethics |
๒(๑-๒-๓) |
รวม ๒ ภาคการศึกษา | ๕๐ |
* ไม่แบ่งแผนการศึกษาเป็น ๒ ภาคการศึกษาเพราะรายวิชาส่วนใหญ่เปิดสอนในลักษณะหมุนเวียน (Rotation)ตลอดปีการศึกษา
** รายวิชาเวชจริยศาสตร์ลงทะเบียนในปีที่ ๔ ผลการศึกษาแสดงในชั้นปีที่ ๖
ปีที่ ๕* | |||
รหัสรายวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า) | |
กวกม BMPD |
๕๐๑ 501 |
กุมารเวชศาสตร์ Pediatrics |
๕(๕-๐-๑๐) |
กวกม BMPD |
๕๑๒ 512 |
ประสบการณ์คลินิกทางกุมารเวชศาสตร์ ๑ Clinical Experience in Pediatrics |
๕(๐-๑๕-๕) |
กวจษ BMOP |
๕๐๑ 501 |
จักษุวิทยา Ophthalmology |
๑(๑-๐-๒) |
กวจษ BMOP |
๕๑๒ 512 |
ประสบการณ์คลินิกทางจักษุวิทยา Clinical Experience in Ophthalmology |
๒(๐-๖-๒) |
กวนว BMFO |
๕๐๑ 501 |
นิติเวชศาสตร์ Forensic Medicine |
๑(๑-๐-๒) |
กวนว BMFO |
๕๑๒ 512 |
ประสบการณ์คลินิกทางนิติเวชศาสตร์ Clinical Experience in Forensic Medicine |
๒(๐-๖-๒) |
กววส BMAS |
๕๐๑ 501 |
วิสัญญีวิทยา Anesthesiology |
๒(๒-๐-๔) |
กววส BMAS |
๕๑๒ 512 |
ประสบการณ์คลินิกทางวิสัญญีวิทยา ๑ Clinical Experience in Anesthesiology I |
๒(๐-๖-๒) |
กววป BMPV |
๕๒๒ 522 |
เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน ๒ Family and Community Medicine II |
๒(๑-๓-๓) |
กววป BMPV |
๕๘๒ 582 |
เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนภาคสนาม ๒ Family and Community Medicine Fieldwork II |
๒(๐-๖-๒) |
กววฟ BMRM |
๕๐๑ 501 |
เวชศาสตร์ฟื้นฟู Rehabilitation Medicine |
๑(๑-๐-๒) |
กวศศ BMSU |
๕๐๑ 501 |
ศัลยศาสตร์ ๒ Surgery II |
๓(๓-๐-๖) |
กวศศ BMSU |
๕๑๒ 512 |
ประสบการณ์คลินิกทางศัลยศาสตร์ ๒ Clinical Experience in Surgery II |
๓(๐-๙-๓) |
กวศอ BMOR |
๕๐๑ 501 |
ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ Orthopedic Surgery |
๑(๑-๐-๒) |
กวศอ BMOR |
๕๑๒ 512 |
ประสบการณ์คลินิกทางศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ๑ Clinical Experience in Orthopedic Surgery I |
๒(๐-๖-๒) |
กวสน BMOT |
๕๒๑ 521 |
โสต ศอ นาสิก วิทยา Otolaryngology |
๓(๑-๔-๔) |
กวอย BMMD |
๕๐๑ 501 |
อายุรศาสตร์ ๒ Medicine II |
๓(๓-๐-๖) |
กวอย BMMD |
๕๑๒ 512 |
ประสบการณ์คลินิกทางอายุรศาสตร์ ๒ Clinical Experience in Medicine II |
๓(๐-๙-๓) |
วิชาเลือกทางคลินิก Student-selected Modules |
๔ | ||
รวม ๒ ภาคการศึกษา | ๔๗ |
* ไม่แบ่งแผนการศึกษาเป็น ๒ ภาคการศึกษาเพราะรายวิชาส่วนใหญ่เปิดสอนในลักษณะหมุนเวียน (Rotation) ตลอดปีการศึกษา
ปีที่ ๖* | |||
รหัสรายวิชา | ชื่อรายวิชา | จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า) | |
กวกม BMPD |
๖๑๒ 612 |
ประสบการณ์คลินิกทางกุมารเวชศาสตร์ ๒ Clinical Experience in Pediatrics II |
๘(๐-๒๔-๘) |
กวจว BMPC |
๖๑๒ 612 |
ประสบการณ์คลินิกทางจิตเวชศาสตร์ ๒ Clinical Experience in Psychiatry II |
๑(๐-๓-๑) |
กววป BMPV |
๖๘๓ 683 |
เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนภาคสนาม ๓ Family and Community Medicine Fieldwork III |
๔(๐-๑๒-๔) |
กววฉ BMEM |
๖๐๑ 601 |
เวชศาสตร์ฉุกเฉิน Emergency Medicine |
๒(๒-๐-๔) |
กววฉ BMEM |
๖๑๒ 612 |
ประสบการณ์คลินิกทางเวชศาสตร์ฉุกเฉิน Clinical Experience in Emergency Medicine |
๒(๐-๖-๒) |
กวศศ BMSU |
๖๑๒ 612 |
ประสบการณ์คลินิกทางศัลยศาสตร์ ๓ Clinical Experience in Surgery III |
๘(๐-๒๔-๘) |
กวศอ BMOR |
๖๑๒ 612 |
ประสบการณ์คลินิกทางศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ๒ Clinical Experience in Orthopedic Surgery II |
๓(๐-๙-๓) |
กวสต BMOG |
๖๑๒ 612 |
ประสบการณ์คลินิกทางสูติศาสตร์นรีเวชวิทยา ๒ Clinical Experience in Obstetrics and Gynecology II |
๘(๐-๒๔-๘) |
กวอย BMMD |
๖๑๒ 612 |
ประสบการณ์คลินิกทางอายุรศาสตร์ ๓ Clinical Experience in Medicine III |
๘(๐-๒๔-๘) |
วิชาเลือกทางคลินิก Student-selected Modules |
๔ | ||
กวคร BMID |
๖๗๑ 671 |
วิชาปัญหาแกน Core Problem |
ไม่นับ |
รวม ๒ ภาคการศึกษา | ๔๘ | ||
รวมหน่วยกิตตลอดหลักสูตร | ๒๕๗ |
* ไม่แบ่งแผนการศึกษาเป็น ๒ ภาคการศึกษาเพราะรายวิชาส่วนใหญ่เปิดสอนในลักษณะหมุนเวียน (Rotation) ตลอดปีการศึกษา